วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2561

Friday, August 31, 2018
4nd record

➤The knowledge gained

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
การจัดกิจกรรมให้เด็กปฐมวัยต้องรู้พัฒนาการ
-สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของเด็กคือการเล่น
-การเล่นคือวิธีการที่ทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้
-เสริมแรงเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ คือสิ่งที่อยุ่รอบตัว สำคัญต่อการใช้ชีวิต ทำให้เกิดการพัฒนา ทำให้สะดวกสบาย ดำรงชีวิตรับรู้การเปลี่ยนแปลง เป็นเครื่องมือทำนายอนาคต
เด็กปฐมวัย
-วัยที่มีความอยากรู้อยากเห็น
-แสวงหาความรุ้ความสามารถและแก้ปัญหาด้วยตนเอง
-วัยที่มีการพัฒนาของสมองมากที่สุด ปัจจัยคือ อาหาร น้ำ การพักผ่อน
***เด็กคิดหาเหตุผล หาความรุ้ตามความสามารถของเด็ก***

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1.ทักษะการสังเกต สัมผัส ตา หู จมูก ลิ้น กาย
2.ทักษะการจำแนก แบ่งโดยหาเกณฑ์ ความเหมือนความแตกต่าง สัมพันร่วม
3.ทักษะการวัด ใช้เครื่องมือหาปริมาณของสิ่งของ
4.ทักษะการสื่อความหมาย การเขียนรูปภาพ ท่าทาง สื่อความหมาย บรรยาย
5.ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล การเพิ่มเติมความความคิดเห็นอาศัยความรู้ประสบการณ์
6.ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสปสกับเวลา มิติต่างๆ ทิศทาง 3มิติ 
7.ทักษะการคำนวน การนับบอกลักษณะสิ่งของต่างๆ

ทำไมต้องเรียนวิทยาศาสตร์
-หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย60
-ความจำเป็นที่จะต้องนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
-มาตราฐานการศึกษาปฐมวัย
องค์ประกอบทางวิทยาศาสตร์
1.สิ่งที่กำหนด
2.หลักการหรือกฎเกณฑ์
3.ค้นหาความจริง

ที่ต้องเรียนวิทยาศาสตร์เพราะวิทยาศาสตร์อยู่รอบตัวในชีวิตปรจำวันของเรา เราจต้องสงเสริมจัดการเรียนการสอนวิทยาศาตร์ให้กับด็กเพราะสำคัญต่อการดำรงชีวิตและสิ่งต่างๆรอบๆตัวเขา
➤Skills
การทำงานของสมองใช้ประสาทสัมผัสเป็นเครื่องมือเข้าสู่สมองเกิดการซึมซับ(assimilation)ปรับโครงสร้างเป้นความรู้ใหม่(accommodation)นำมาใช้ในชีวิตประจำวันคือเด็กได้เรียนรู้แล้ว
➤Apply
  ใช้ในการจัดกิจกรรมปฐมวัยต้องรู้พัฒนาการเด็กและรู้วิธีที่เด็กใช่้เพื่อเรียนรู้
➤Technique
  เน้นต่อยอดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบรูณาการผ่านการเล่น การสังเกต สัมผัส ตา หู จมูก ลิ้น กาย
Assessment 
our self: ตั้งใจเรียนเข้าเรียนตรงเวลา ตอบคำถามได้
Friend : ตั้งใจเรียน ช่วยกันตอบคำถามได้
Teacher:สอนเข้าใจง่าย เชื่อมโยงเนื้อหาได้เห็นภาพมากขึ้น

vocabulary
assimilation=การซึมซับ
accommodation=ปรับโครงสร้างเป็นความรู้ใหม่
Classifying=ทักษะการจำแนกประเภท
Criteria=เกณฑ์
similarities=ความเหมือน
Differences=ความแตกต่าง
Interrelationships=ความสัมพันธร่วม
Measurement=ทักษะการวัด
communication=ทีกษะการสื่อความหมาย
Inferring=ทักษะการลงความเห็นข้อมูล




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

สรุป ตัวอย่างการสอน โดย  โรงเรียนโสมาภา (นวมินทร์) การทดลองต่อวงจรไฟฟ้า การนำถ่านไฟฉายมาเป็นแหล่งกำเนิดไฟ ให้เด็กต่อสายไฟให้ครบวงจร เสี...