วันอาทิตย์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2561

Friday, september 21, 2018 7nd record

บรรยากาศภายในห้องเรียน

ใบงานที่ได้รับ

ใบงานที่ได้รับ

➤The knowledge gained

อาจารย์แจกใบความรู้การทดลองทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงสีและการมองเห็นให้ (แสงและภาพ)ให้สรุปตรงกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ข้อความรู้
-การมองเห็นขึ้นอยู่กับความสว่าง เมื่อไม่มีแสง เราจะมองไม่เห็นสีสันในภาพ แต่ถ้าเราใช้ไฟฉายที่ทำจากกระดาษสีขาวส่องไปยังภาพนั้นภาพจะกลับมามีสีสันอีกครั้ง
ปัญหา
-ถ้าไม่มีแสงจะมองเห็นภาพได้อย่างไร
สมมติฐาน
-ถ้าเอาไฟฉายส่องไปที่ภาพจะเกิดอะไรขึ้น
การทดลอง
1.ตัดกระดาษแข็งสีดำและแผ่นพลาสติกเท่ากระดาษ A4
2.ตัดกระดาษสีดำที่เหลือเป็นรูปกระบอกไฟฉายและตัดกระดาษสีขาวเป็นรูปวงกลมเป็นส่วนของไฟฉาย
3.วางแผ่นพลาสติกใสบนกระดาษA4สีขาว ใช้ปากกาเคมี วาดภาพลงบนแผ่นพลาสติกใส
4.วาดให้เหมือนภาพแรกลงบนแผ่นใสอีกแผ่น
5.จะมองทะลุผ่านแผ่นใสและกระดาษสีขาวไดหรือไม่จะมองเห็นแผ่นรองวาดภาพบนโต๊ะผ่านแผ่นพลาสติกและกระดาษสีขาวไดหรือไม่
6.ให้เด็กวางแผ่นพลาสติกใสที่มีภาพวาดลงบนกระดาษแข็งสีดำ แล้วติดด้วยแทปกาวที่ขอบด้านบน
7.ภาพวาดมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร เมื่อวางอยู่บนกระดาษสีดำ  เด็กๆเห็นรายละเอียดและสีของภาพหรือไม่
8.สอดไฟฉายกระดาษเข้าไประหว่างแผ่นพลาสติกใสที่มีภาพวาด กับกระดาษสีดำ ขยับไฟฉายไปมาเดกๆสังเกตเห็นอะไร ภาพกลับมาชัดเหมือนเดิมหรือไม่ ทำไมจึงเป็นเช่นนัน
9.ให้ตรวจสอบว่าไฟฉายกระดาษปล่อยแสงออกมาได้หรือไม่เราจะใช้ไฟฉายกระดาษในหองมืด เพื่อให้มองเห็นรายละเอียดและสีของภาพบนแผ่นพลาสติกใสได้หรือไม่
**จากนั้นอาจารย์มอบหมายงานให้ประดิษฐ์สื่อวิทยาศาสตร์จากแกนกระดาษทิชชู่**

การเรียนรู้จากใบงานการทดลองทำให้รู้แนวทางและประเด็นปัญหาที่ชัดเจน ให้เราได้คิดหาคำถามเพื่อให้เด็กตั้งสมมติฐานขึ้น และนำมาทดลองดูใช้ประกอบการสอนได้
➤Skills
วัตถุต่างๆที่เรามองเห็นดูดสีจากแสงสะท้อนเข้าตาเรา
Assessment 
การทดลองทางวิยาศาสตร์ให้เด็กได้พิสูจน์ความจริงจากเรื่องง่ายๆใกล้ตัวหาอุปกรณ์ได้ง่ายสามารถสร้างองค์ความรู้ที่มีความหมายต่อเด็กได้
our selfตั้งใจเรียนเข้าเรียนตรงเวลา ตอบคำถามได้
Friend : ช่วยกันตอบคำถามได้ สงสัยอไรก็ถามคอยช่วยเหลือกัน
Teacher:อาจารย์เชื่อมโยงเนื้อหาได้เห็นภาพมากขึ้น

วันพุธที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2561

Friday, september 14, 2018 6nd record
➤The knowledge gained
อาจารย์พูดถึงชื่อวิจัยว่าผ่านหรือไม่
 
-ทักษะเรื่องสีจะเกี่ยวกับแสงเป็นตัวกลาง  
 -น้ำเป็นส่วนประกอบของสิ่งมีชีวิต

5E วิธีการสอน
1.การสร้างความสนใจ
2.สำรวจและค้นหา
3.การอิบายและลงข้อสรุป
4.ขยายความรู้
5.การประเมิน
****เหมาะกับกิจกรรมเสริมประสบการณ์ที่สุด***
การตั้งประเด็นปัญหาตั้งคำถามเพื่อให้เด็กตั้งสมมติฐาน การแลกเปลี่ยนความรูร่วมกันกับเพื่อนเรื่องวิจัยที่เพื่อนเลือกต่างๆ จากที่อาจารย์ถามถึงวิจัยเพื่อนแต่ละคน
➤Skills
ทักษะกระบวนการทางวิยาศาสตร์
-ตั้งปัญหาที่อยากรู้
-ตั้งสมมติฐาน
-ดำเนินการทดลอง
-สรุปผล
➤Technique
กิจกรรมศิลปะสามารถเชื่อมกับวิทยาศาสตร์และให้เด็กเรียนรู้อย่างมีความหมายและตรงประเด็นได้จากงานประดิษฐ์ที่ทำเองง่ายๆแล้วได้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
Assessment
our selfตั้งใจเรียนเข้าเรียนตรงเวลา ตอบคำถามได้ 
Friend : ตั้งใจเรียน ช่วยกันตอบคำถามได้
Teacher:สอนเข้าใจง่าย เชื่อมโยงเนื้อหาได้เห็นภาพมากขึ้น

วันอังคารที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2561

Friday, september 7, 2018
5nd record

อาจารย์ติดราชการได้มอบหมายงานเกี่ยวกับกิจกรรมในกลุ่มของตนเอง ที่จะไปทำในพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ โดยระเอียดให้เวลาเตรียมความพร้อมและพูดคุยกันภายในกลุ่ม

Assessment 
our self: ออกความคิดเห็นและตั้งใจทำงานสุดความสามารถ
Friend : ช่วยเพื่อนออกความเห็นปรึกษางานภายในกลุ่ม 
Teacher:อาจารย์ให้ขยายเวลาในการปรึกษางานให้มากขึ้น และละเอียดรอบครอบ





วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2561

Friday, August 31, 2018
4nd record

➤The knowledge gained

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
การจัดกิจกรรมให้เด็กปฐมวัยต้องรู้พัฒนาการ
-สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของเด็กคือการเล่น
-การเล่นคือวิธีการที่ทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้
-เสริมแรงเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ คือสิ่งที่อยุ่รอบตัว สำคัญต่อการใช้ชีวิต ทำให้เกิดการพัฒนา ทำให้สะดวกสบาย ดำรงชีวิตรับรู้การเปลี่ยนแปลง เป็นเครื่องมือทำนายอนาคต
เด็กปฐมวัย
-วัยที่มีความอยากรู้อยากเห็น
-แสวงหาความรุ้ความสามารถและแก้ปัญหาด้วยตนเอง
-วัยที่มีการพัฒนาของสมองมากที่สุด ปัจจัยคือ อาหาร น้ำ การพักผ่อน
***เด็กคิดหาเหตุผล หาความรุ้ตามความสามารถของเด็ก***

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1.ทักษะการสังเกต สัมผัส ตา หู จมูก ลิ้น กาย
2.ทักษะการจำแนก แบ่งโดยหาเกณฑ์ ความเหมือนความแตกต่าง สัมพันร่วม
3.ทักษะการวัด ใช้เครื่องมือหาปริมาณของสิ่งของ
4.ทักษะการสื่อความหมาย การเขียนรูปภาพ ท่าทาง สื่อความหมาย บรรยาย
5.ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล การเพิ่มเติมความความคิดเห็นอาศัยความรู้ประสบการณ์
6.ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสปสกับเวลา มิติต่างๆ ทิศทาง 3มิติ 
7.ทักษะการคำนวน การนับบอกลักษณะสิ่งของต่างๆ

ทำไมต้องเรียนวิทยาศาสตร์
-หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย60
-ความจำเป็นที่จะต้องนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
-มาตราฐานการศึกษาปฐมวัย
องค์ประกอบทางวิทยาศาสตร์
1.สิ่งที่กำหนด
2.หลักการหรือกฎเกณฑ์
3.ค้นหาความจริง

ที่ต้องเรียนวิทยาศาสตร์เพราะวิทยาศาสตร์อยู่รอบตัวในชีวิตปรจำวันของเรา เราจต้องสงเสริมจัดการเรียนการสอนวิทยาศาตร์ให้กับด็กเพราะสำคัญต่อการดำรงชีวิตและสิ่งต่างๆรอบๆตัวเขา
➤Skills
การทำงานของสมองใช้ประสาทสัมผัสเป็นเครื่องมือเข้าสู่สมองเกิดการซึมซับ(assimilation)ปรับโครงสร้างเป้นความรู้ใหม่(accommodation)นำมาใช้ในชีวิตประจำวันคือเด็กได้เรียนรู้แล้ว
➤Apply
  ใช้ในการจัดกิจกรรมปฐมวัยต้องรู้พัฒนาการเด็กและรู้วิธีที่เด็กใช่้เพื่อเรียนรู้
➤Technique
  เน้นต่อยอดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบรูณาการผ่านการเล่น การสังเกต สัมผัส ตา หู จมูก ลิ้น กาย
Assessment 
our self: ตั้งใจเรียนเข้าเรียนตรงเวลา ตอบคำถามได้
Friend : ตั้งใจเรียน ช่วยกันตอบคำถามได้
Teacher:สอนเข้าใจง่าย เชื่อมโยงเนื้อหาได้เห็นภาพมากขึ้น

vocabulary
assimilation=การซึมซับ
accommodation=ปรับโครงสร้างเป็นความรู้ใหม่
Classifying=ทักษะการจำแนกประเภท
Criteria=เกณฑ์
similarities=ความเหมือน
Differences=ความแตกต่าง
Interrelationships=ความสัมพันธร่วม
Measurement=ทักษะการวัด
communication=ทีกษะการสื่อความหมาย
Inferring=ทักษะการลงความเห็นข้อมูล




สรุป ตัวอย่างการสอน โดย  โรงเรียนโสมาภา (นวมินทร์) การทดลองต่อวงจรไฟฟ้า การนำถ่านไฟฉายมาเป็นแหล่งกำเนิดไฟ ให้เด็กต่อสายไฟให้ครบวงจร เสี...